รายงาน 

เรื่อง ..แนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรทางเทคโนโลยี..

 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การบีบอัดขยะด้วยกลไก
จัดทำโดย
ด.ช.นิธินนท์   แก้วเลิศ  ชั้น ม.๒/๓ เลขที่ ๕
ด.ช.ชยณัฐ  จุลลศรี  ชั้น ม.๒/๓ เลขที่ ๗

เสนอ

คุณครู ธีรพล  คงมีผล
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดชัยชนะสงคราม
อำเภอเมืองตาก   จังหวัดตาก


ที่


แนวทางการ
แก้ปัญหา
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี


คน
ข้อมูลและ
สารสนเทศ

วัสดุ
เครื่องมือและอุปกรณ์

พลังงาน


ทุน

เวลา
1
บีบอัดขยะโดย
ใช้หลักการ
การของคาน

ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคานและโมเมนต์ของแรง
ใช้ข้อมูล
ด้านคานและโมเมนต์
ของแรง
ใช้วัสดุที่แข้งแรง
ไม่เป็น
สนิน
ใช้เครื่อง
มือช่าง
พื้นฐาน
ใช้แรงคน
ในการ
บีบอัด
ใช้ทุนในการจัดซื้อวัสดุที่ใช้ทำโครงสร้างของคาน
กระบวนการ
สร้างไม่ซับซ้อน
จึงใช้เวลา
น้อย
2
บีบอัดขยะโดย
ใช้ระบบ
ไฮดรอลิก
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะ
มากเช่น
กลศาสตร์
ไฟฟ้า
ใช้ข้อมูล
ด้านกลศาสตร์
ไฟฟ้า
ใช้วัสดุที่แข้งแรง
ไม่เป็น
สนิน
ทำแผ่นบีบ
อัดได้
ใช้เครื่อง
มือช่าง
และระบบ
ไฮดรอลิก
ใช้พลังงาน
ไฟฟ้าขับเคลื่อน
ระบบ
ไฮดรอลิก
ใช้ทุนในการจัดซื้อ
ระบบ
ไฮดรอลิก

กระบวนการ
สร้างซับซ้อน
จึงใช้เวลามาก


3
บีบอัดขยะ
ด้วยกลไก
scissors
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะ
ด้านกลไก
Scissors
และเซ็นเซอร์
ใช้ข้อมูล
ด้านกลศาสตร์
ไฟฟ้า
ใช้วัสดุที่แข้งแรง
ไม่เป็น
สนินในการทำกลไก
ใช้เครื่อง
มือช่าง
พื้นฐาน
ใช้เซ็นเซอร์
ใช้โซลาร์
เซลล์

ใช้พลังงาน
แสงอาทิตย์
ที่แปลงเป็น
พลังงาน
ไฟฟ้าในการบีบอัด
ใช้ทุนในการจัดซื้อ
โซลาร์เซลล์
เซ็นเซอร์
แผงวงจร
ครบคุม
กระบวนการ
สร้างไม่ซับซ้อน
จึงใช้เวลา
น้อย
เป็นที่น่ายินดี ที่มีผู้คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆในการรักษาสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา ล่าสุดเทศบาลเมอร์ตันทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มมีการใ้ช้ถังขยะ Solar Bin ถังบีบอัดขยะด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่จุขยะได้มากกว่าถังขยะทั่วไป 8 เท่า เนื่องจากมีความสามารถในการบีบอัดขยะได้โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ เทศบาลได้่ทำการเช่าเป็นจำนวน 30 ใบกับบริษัท Kyron Energy & Power โดยใช้ระยะเวลาทดลอง 1 ปี ซึ่งถึงจะมีอัตราค่าเช่าที่สูงถึงใบละ 1,000 ปอนด์ต่อปี แต่เมื่อคำณวนแล้วก็ถือว่าคุ้มค่า เพราะสามารถประหยัดค่าน้ำมันรถเก็บขยะและค่าจ้างพนักงานได้ถึง 70% เลยทีเดียว

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้